Grand Prix Online

Main Menu

  • HOME
  • AUTO NEWS
    • Bizz News
      • NEW COMER
      • MODEL/MINORCHANGE
      • WORLD MOVEMENT
      • Corporate News
    • Achive
      • Car
      • Motorcycle
    • Promotion
    • Motorsport
      • MOTORSPORT NEWS
      • RACE RESULT
  • Motorcycle
    • Round Up News
    • NEW MODEL
    • Bike Technic
  • SPECIAL SCOOP
    • TOKYO MOBILITY
    • Test drive
    • REPORT
    • Classic Car
    • Interview
    • Modified
    • Technology
    • Tip&Technic
    • Insurance Tips
    • Variety Scoop
    • BOY’S TOY
    • Video
  • ABOUT US
    • ADVERTISING
    • CONTACT US
    • PRIVACY POLICY
  • INVESTOR RELATIONS
  • Work with us

logo

Header Banner

Grand Prix Online

  • HOME
  • AUTO NEWS
    • Bizz News
      • NEW COMER
      • MODEL/MINORCHANGE
      • WORLD MOVEMENT
      • Corporate News
    • Achive
      • Car
      • Motorcycle
    • Promotion
    • Motorsport
      • MOTORSPORT NEWS
      • RACE RESULT
  • Motorcycle
    • Round Up News
    • NEW MODEL
    • Bike Technic
  • SPECIAL SCOOP
    • TOKYO MOBILITY
    • Test drive
    • REPORT
    • Classic Car
    • Interview
    • Modified
    • Technology
    • Tip&Technic
    • Insurance Tips
    • Variety Scoop
    • BOY’S TOY
    • Video
  • ABOUT US
    • ADVERTISING
    • CONTACT US
    • PRIVACY POLICY
  • INVESTOR RELATIONS
  • Work with us
Report
Home›Special Scoop›Report›ระบบ EGR สำหรับลดมลพิษ หรือ Exhaust Gas Recirculation

ระบบ EGR สำหรับลดมลพิษ หรือ Exhaust Gas Recirculation

By นันทพงศ์ ภักดีบุตร
February 1, 2019
15931
0
Share:

เป็นเทคโนโลยีลดมลพิษ ด้วยการนำไอเสียส่วนหนึ่ง ประมาณ 5-15 % ส่งกลับมาเข้าห้องเผาไหม้ซ้ำ เพื่อทำการลดไนโตรเจนออกไซด์ หรือ Nox ซึ่งเป็นก๊าซมลพิษที่ปะปนมากับไอเสีย ที่เกิดจากก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ โดยระบบ EGR นี้ จะทำงานโดยใช้เซ็นเซอร์ตรวจจับปริมาณไอเสีย ส่งสัญญาณผ่านกล่องควบคุม สั่งให้วาวล์ EGR เปิดรับไอเสียบางส่วน กลับเข้าห้องเผาไหม้ใหม่อีกครั้ง เพื่อให้ไอเสียที่ออกมา มีมลพิษน้อยที่สุด

ระบบ EGR

แคทาไลติก คอนเวอร์เตอร์ อุปกรณ์ในการกรองไอเสียตามมาตรฐาน EURO

ระบบ EGR และ แคทาไลติกคอนเวอร์ทเตอร์ ไม่ใช้อุปกรณ์เสริมสมรรถนะแต่อย่างใด ในความเป็นจริงทั้ง EGR และ แคทาไลติกคอนเวอร์ทเตอร์ คืออุปกรณ์ลดปริมาณไอเสียตามมาตรฐาน EURO ที่ทั่วโลกยอมรับ เป็นอุปกรณ์สำคัญในการลดมลพิษในไอเสีย

ภาพตัวอย่าง แสดงการทำงานของ EGR

สำหรับข้อเสียของระบบ EGR นั่นก็คือ เมื่อ EGR ทำงาน การเผาไหม้ของเครื่องยนต์ จะไม่สมบูรณ์ จะเกิดก๊าซ CO, CO2, HC และควันดำ มากกว่าปกติ แต่ CO, CO2 และ HC  จะถูกกำจัดโดย แคทาไลติกคอนเวอร์ทเตอร์ เมื่อใช้งานไปซักระยะหนึ่ง กรองไอเสีย จะเกิดการอุดตัน และเสื่อมคุณภาพ จนพบว่ารถมีควันดำ ควันเหม็น และวิ่งไม่ออก โดยเฉพาะผู้ที่ขับรถค่อนข้างช้า ส่วนผู้ที่ชอบขับเร็ว ระบบ EGR จะทำงานน้อย และเขม่าจะถูกแรงขับของเครื่องยนต์ ดันออกไปทางท่อไอเสีย จึงไม่เกิดเกิดการอุดตันเหมือนรถที่ขับช้า เพราะโดยปกติของระบบ EGR จะทำงานที่รอบต่ำเป็นส่วนใหญ่

ระบบ EGR ที่ขาดการดูและ จะมีเขม่าสะสมบริเวณท่อไอดี

ผลดี / ผลเสีย ของการอุด EGR

ซึ่งในส่วนของผลดี ก็คือ ไอเสียทั้งหมด จะถูกปล่อยออกทันที โดยไม่ต้องวนกลับเข้าท่อไอดี ลดโอกาสในการเกิดคราบเขม่าสะสมในท่อไอดี ลิ้นผีเสื้อ ส่งผลให้เครื่องยนต์ตอบสนองได้ดี โดยไม่ต้องลากรอบเครื่องยนต์สูงเกินไป นอกจากนี้ น้ำมันเครื่องก็จะดำช้า จากการปิดทางเดินไอเสียไม่ให้วนผ่านเครื่องยนต์ รวมถึงช่วยยืดอายุหัวฉีด เป็นเพราะหัวฉีดจะอยู่ในห้องเผาไหม้ และมีรูขนาดเล็ก เมื่อมีคราบเขม่าสะสมมากๆ อาจทำให้หัวฉีดอุดตัน อาจส่งผลให้อายุการใช้งานสั้นลง

คราบเขม่าสะสม จำเป็นต้องทำความสะอาดอยู่เสมอ

สำหรับผลเสียของการอุด EGR คือ จากการที่เครื่องยนต์ได้ปล่อยไอเสียออกมาทันที ก็จะมีไนโตรเจนออกไซด์ NOx ปะปนออกมาจำนวนมากสู่อากาศโดยตรง ส่งผลให้เกิดหมอกควัน ทำให้เกิดฝนกรด อีกทั้งยังเกิดผลกระทบ ต่อระบบทางเดินหายใจของสิ่งมีชีวิต รวมถึงมนุษย์อีกด้วย…

ตัวอย่างแผ่นอุด EGR ในเครื่องยน์รุ่นต่าง

สรุป

ระบบ EGR เกิดขึ้นมาเพื่อลดปริมาณไอเสียของรถยนต์ และเพื่อประสิทธิภาพที่ดี ในการกรองไอเสียระยะยาว ควรหมั่นดูแล ทำความสะอาด ท่อทางเดินไอดี ลิ้นผีเสื้อ บริเวณฝาครอบวาล์วซึ่งเป็นทางผ่านของเขม่าไอเสีย รวมถึงให้ผู้เชี่ยวชาญ ทำการการดูแล ตรวจเช็คระบบหัวฉีด เพื่อสมรรถนะที่ดีในการใช้งาน และช่วยลดมลพิษได้อีกด้วย

ในการอุด EGR นั้น จะให้การตอบสนองที่ดีต่อเครื่องยนต์ก็จริงอยู่ แต่ก็แลกมาด้วยมลพิษจากไนโตรเจนออกไซด์ NOx ที่จะมาทำลายชั้นบรรยากาศ ส่งผลกระทบ ต่อระบบนิเวศน์มากมาย…

สุดท้ายนี้ ก็ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ใช้รถ จะเป็นผู้ตัดสินใจเลือกเองได้ว่า “จะอุด หรือไม่อุด EGR”

ล้างและทดสอบหัวฉีด ป้องกันการอุดตัน

 

 

เรื่อง :  สมโภชน์ นันทโรจน์

เรียบเรียงข้อมูลโดย GRANDPRIX ONLINE

ติดตามข่าวสาร ยานยนต์ รถจักรยานยนต์ รถใหม่ ได้ที่ www.grandprix.co.th

TagsPM2.5ควันดำปัญหาฝุ่นละอองปัญหามลพิษปัญหารถควันดำฝุ่นละอองมลพิษระบบ EGR
0
Shares
  • 0
  • +
  • 0
  • 0

บทความแนะนำที่น่าสนใจ

บทความ รีวิว รถ ที่น่าสนใจ
บทความ ด้านสมรรถนะ ที่น่าสนใจ
บทความ รถออกใหม่ ที่น่าสนใจ
บทความ รถครอบครัว ที่น่าสนใจ
บทความ ด้านราคารถ ที่น่าสนใจ
บทความ ด้านดีไซน์รถ ที่น่าสนใจ
บทความ ด้านการซื้อรถ ที่น่าสนใจ
บทความเรื่องรถที่น่าสนใจ

About

logo_grandprix_online2016full

Grandprix Online กรังด์ปรีซ์ออนไลน์ ผู้นำข่าวสารยานยนต์

Thailand Automotive news leader and auto show. Our mission is the leading source of news about the global automotive industry.

Recent Posts

  • KLX230 ใหม่ เอาใจสายลุย พร้อมปรับราคาใหม่สุดเร้าใจ
  • ฮีโน่และกรมการขนส่งทางบก ผนึกกำลังสานต่อ “โครงการสร้างนักขับมืออาชีพ ปีที่ 3” ยกระดับมาตรฐานการขนส่งไทย
  • เจาะ สเปค Xiaomi SU7 Ultra และเอสยูวีหรู YU7
  • ไพรม์มัส กรุ๊ป ยกทัพใหญ่ อวดโฉมรถใหม่ 5 แบรนด์ดังงาน Fast Auto Show Thailand 2025
  • Toyota Land Cruiser Hybrid 48V ขุมพลังไฮบริดใหม่ลุยตลาดยุโรป

Advertising

สนใจลงโฆษณา
ติดต่อ : 02-522-1731-8

  • Facebook
  • Youtube
  • Instagram